ประกาศหยุดแชร์รูปที่ระบุว่าเป็นย่าโม

ประกาศหยุดแชร์รูปที่ระบุว่าเป็นย่าโม เพราะว่าไม่ใช่รูปนั้นคือ ท้าววรจันทร์ 

      เมื่อประมาณ วันที่ 3 เดือนมิถุนายน ปี พ.ศ.2563  ได้มีผู้ใช้ Facebookคนหนึ่งได้มีการทดภาพลงบน Facebook  ส่วนตัวพร้อมทั้งมีการโพสต์รูปผู้หญิงสูงอายุแต่งชุดคล้ายคนโบราณและมีการกำกับใต้ภาพดังกล่าวว่าเป็นบุคคลในประวัติศาสตร์อีกทั้งยังบอกว่าเป็นบุญที่ได้เห็นโดยระบุว่ารูปหญิงโบราณคนนั้นคือลูกของย่าโมตัวจริงสมัยที่ยังมีชีวิตอยู่

ซึ่งมีหลายคนที่หลงเชื่อและมีการแชร์ภาพหญิงในภาพที่อ้างว่าเป็นรูปของย่าโมกันเป็นจำนวนมากจนเป็นประเด็นและกระแสวิพากษ์วิจารณ์ในโลกออนไลน์ทั้งนี้หลังจากที่วันที่ 5 มิถุนายนปีพศ2563 ได้มี Facebook ของทางโบราณมาได้ออกมาชี้แจงเกี่ยวกับรูปภาพดังกล่าวว่าได้มีการตรวจสอบข้อมูลมาแล้วรูปภาพที่กำลังมีการแชร์ด้วยความเข้าใจผิดว่าเป็นรูปภาพของย่าโมนั้นแท้ที่จริงแล้วไม่ใช่ลูกของย่าโม

ซึ่งบุคคลในรูปภาพนั้นมีอยู่จริงแต่บุคคลในรูปภาพนั้นคือท้าววรจันทร์โดยมีการนำรูปของท้าววรจันทร์ที่ถ่ายอีกรูปหนึ่งเอามาเปรียบเทียบให้ดูและยังได้มีการระบุลงในเพจ Facebook ของตนเองด้วยว่าขอให้ทุกคนที่กำลังจะแชร์รูปของย่าโมที่เป็นรูปตอนนี้โดยของดให้มีการหยุดแชร์และยังมีการอธิบายเพิ่มเติมด้วยว่าในสมัยโบราณนั้น

ผู้คนส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยรู้จักกล้องกันมากนักดังนั้นคนมักจะไม่ถ่ายรูปเพราะมีความรู้สึกกลัวเกี่ยวกับการถ่ายรูปและกล้องที่เอามาถ่ายในครั้งแรกถูกนำมาถ่ายด้วยบาทหลวงชาวฝรั่งเศสนิกายคาทอลิกนั่นก็คือพระสังฆราชปาเลอกัวโดยมีการนำกล้องมาถ่ายรูปครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 3 ซึ่งตรงกับพุทธศักราช 2388

แต่ว่าข้อมูลของย่าโมหรือท้าวสุรนารีที่เป็นบุคคลทางประวัติศาสตร์สำคัญของจังหวัดนครราชสีมานั้นท่านเกิดในสมัยกรุงธนบุรีซึ่งปีพศ. เกิดของท่านนั้นคือผช 2314 ดังนั้นจึงยังเป็นช่วงที่กล้องถ่ายรูปยังไม่มีการเข้ามาในประเทศไทยอย่างแน่นอนและที่สำคัญท้าวสุรนารีนั้นได้เสียชีวิตลงช่วงประมาณปีพศ 2395

ซึ่งถ้าหากดูจากประวัติกล้องถ่ายรูปที่เข้ามาแล้วพึ่งเข้ามาได้ไม่นานแน่นอนว่าหญิงไทยสมัยโบราณนั้นจะยังไม่มีการนิยมการถ่าย เพราะคนสมัยโบราณมักมีความกลัวว่าหากถ่ายรูปไปแล้วอายุจะไม่ยืนดังนั้นไม่ว่าจะเป็นการถ่ายรูปหรือแม้แต่การวาดรูปจะไม่ค่อยมีคนนิยมกันมากนักเพราะกลัวจะอายุสั้นและกลัวว่าหากมีการถ่ายรูปไปแล้วจะมีคนนำรูปถ่ายนั้น

ไปทำคุณไสยซึ่งถึงแม้ว่ากล้องถ่ายรูปจะเข้ามาในประเทศไทยครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 3 แต่คนที่ถ่ายรูปคนแรกของประเทศไทยนั้นคือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 หลังจากนั้นกล้องถ่ายรูปจึงเป็นที่นิยมสำหรับหมู่บุคคลชั้นสูงเรื่อยมา

 

สนับสนุนโดย  bk8